Working languages:
English to Thai
English to Lao

sombat thavorrn
5 languages steadily make Sombat Thavorn

Thailand
Local time: 07:24 +07 (GMT+7)

Native in: Thai Native in Thai
Feedback from
clients and colleagues

on Willingness to Work Again info

This service provider is not currently displaying positive review entries publicly.


 Your feedback
Account type Freelance translator and/or interpreter
Data security Created by Evelio Clavel-Rosales This person has a SecurePRO™ card. Because this person is not a ProZ.com Plus subscriber, to view his or her SecurePRO™ card you must be a ProZ.com Business member or Plus subscriber.
Affiliations This person is not affiliated with any business or Blue Board record at ProZ.com.
Services Translation, Interpreting, Editing/proofreading, Project management, Operations management
Expertise
Specializes in:
Finance (general)Construction / Civil Engineering
ArchitectureGovernment / Politics
EconomicsEducation / Pedagogy
Environment & EcologyPhilosophy
MarketingEngineering (general)

Rates

Payment methods accepted Visa, Visa
Portfolio Sample translations submitted: 1
English to Thai: Mr
General field: Social Sciences
Detailed field: Social Science, Sociology, Ethics, etc.
Source text - English
บทที่ 8
โครงการที่ 5 : การพัฒนาเครือข่ายผู้ติดเชื้อระดับจังหวัด


จังหวัดศรีสะเกษมีกลุ่มผู้ติดเชื้อทั้งสิ้น 18 กลุ่ม เดิมแต่ละกลุ่มก็มีการดำเนินงานพัฒนาตนเองและจัดกิจกรรมภายในกลุ่มของตน โดยไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกันอย่างชัดเจน เมื่อแกนนำจากกลุ่มผู้ติดเชื้อกลุ่มต่างๆได้มาตรวจสุขภาพที่โรงพยาบาลศรีสะเกษ หรือได้มีโอกาสพบปะกันในการอบรมความรู้ต่างๆ ก็ได้มีโอกาสพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันระหว่างกลุ่มผู้ติดเชื้อแต่ละกลุ่ม ได้ข้อสรุปว่า กลุ่มผู้ติดเชื้อที่อยู่ตามอำเภอหรือศูนย์องค์รวมต่างๆ มีการพัฒนากระบวนการของกลุ่มไม่เท่ากัน โดยพบว่ากลุ่มผู้ติดเชื้อบางกลุ่มยังไม่มีความเข้มแข็งเพียงพอ บางกลุ่มก็มีการดำเนินงานไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร เนื่องจากแกนนำยังไม่มีทักษะในการทำงาน บางกลุ่มก็พบว่ามีการเปลี่ยนตัวทีมงานบ่อยๆทำให้การพัฒนากลุ่มไม่มีความต่อเนื่อง หลังจากได้พูดคุยกันหลายครั้ง แกนนำจากกลุ่มผู้ติดเชื้อต่างๆจึงมีแนวคิดว่า ควรมีการจัดตั้งหน่วยงานกลางสำหรับติดต่อประสานงานระหว่างกลุ่มผู้ติดเชื้อที่อยู่ตามอำเภอต่างๆ นอกจากนี้ยังต้องมีทีมและเป็นทีมนำในการพัฒนาศักยภาพให้แก่แกนนำกลุ่มผู้ติดเชื้อที่ต้องการความช่วยเหลือ ดังคำอธิบายของประธานคณะกรรมการเครือข่ายฯได้เล่าเพิ่มเติมว่า “…เครือข่ายจังหวัดก็เริ่มคุยกันตั้งแต่ปี 2545 พวกแกนนำกลุ่มก็คุยกันถึงประสบการณ์ในการทำงานได้แลกเปลี่ยนกันว่าเราจะเจอปัญหาอะไร ก็คุยกันได้รู้ว่ากลุ่มบางกลุ่มยังไม่เข้มแข็ง กลุ่มในระดับอำเภอก็คุยกันว่าเป็นเพราะอะไร กลุ่มยังไม่เข้มแข็ง ก็พบว่าเราเปลี่ยนคนทำงานบ่อย แกนนำกลุ่มไม่ได้มีทักษะในการทำงาน ก็เลยได้รวมกันขึ้นเป็นเครือข่ายระดับจังหวัด เป้าหมายก็เพื่อจะพัฒนากลุ่มแกนนำให้กลุ่มแกนนำในระดับอำเภอที่เขาพร้อมที่จะทำงาน แต่ยังขาดทักษะ ขาดองค์ความรู้ที่เขาจะไปพัฒนากลุ่มของเขา...” (CFPn1Tm1)
“…ก็รวมกันเป็นกลุ่มมาตั้งแต่ปี 2538 แล้วก็ขยายไปเป็นกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน ขยายเป็นกลุ่มต่างๆในแต่ละอำเภอจนถึง 18 กลุ่ม แล้วแกนนำแต่ละกลุ่มก็มาคุยกันว่าเรายังไม่มีการประสานระหว่างกลุ่ม การส่งต่อข้อมูลระหว่างจังหวัดในกลุ่มก็ยังไม่มี มีแต่ระดับเขตเท่านั้นเอง ก่อนปี 45 นะ พอมีข่าวสารอะไรก็ต้องส่งไปให้แต่กลุ่มๆ ทางจังหวัดยังไม่มี เราก็เลยคุยกันว่าเครือข่ายจังหวัดต้องเป็นศูนย์ประสานงานให้กันในระดับอำเภอทั้ง 18 กลุ่มนี้ ข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ที่ทางเครือข่ายผู้ติดเชื้อแห่งประเทศไทยไม่ว่าจะเป็นระดับภาค ระดับเขตที่เขาส่งต่อลงมา ก็ต้องส่งมาที่เครือข่ายจังหวัด แล้วเครือข่ายจังหวัดก็ส่งต่อไปให้ระดับอำเภออีกทีหนึ่ง…” (CFPn1Tm1)
ได้มีการรวมตัวกันของแกนนำกลุ่มผู้ติดเชื้อในจังหวัดศรีสะเกษขึ้น ในปี พ.ศ. 2545 โดยตั้งเป็นคณะทำงานใช้ชื่อว่า “คณะกรรมการเครือข่ายระดับจังหวัด” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาทักษะให้แก่แกนนำกลุ่มผู้ติดเชื้อที่ยังไม่มีความเข้มแข็งเพียงพอ 2) เสริมความรู้ที่ถูกต้องให้แก่แกนนำกลุ่มผู้ติดเชื้อ 3) แลกเปลี่ยนประสบการณ์และแก้ปัญหาของแต่ละกลุ่มร่วมกับแกนนำกลุ่มผู้ติดเชื้อ
การประเมินผลครั้งนี้ได้เลือกพื้นที่ในการศึกษา 2 แห่ง คือ อำเภอเมืองและอำเภอศรีรัตนะ เนื่องจากอำเภอเมืองเป็นที่ตั้งของสำนักงานเครือข่ายผู้ติดเชื้อระดับจังหวัด ซึ่งเป็นตัวแทนของคณะกรรมการเครือข่ายระดับจังหวัด ส่วนอำเภอศรีรัตนะเป็นพื้นที่ในการศึกษาของโครงการย่อยที่ 1 และโครงการย่อยที่ 2 อยู่แล้ว จึงได้รับการคัดเลือกให้เป็นพื้นที่ในการศึกษาในโครงการย่อยที่ 5 นี้ด้วย เพื่อให้การประเมินโครงการมีความต่อเนื่องและมีความสอดคล้องเชื่อมโยงกัน
ในเบื้องต้นได้กำหนดผู้ให้ข้อมูลคือ 1) คณะกรรมการเครือข่ายผู้ติดเชื้อระดับจังหวัด อำเภอเมือง รวมทั้งสิ้น 6 คน ประกอบด้วยระดับผู้บริหาร 3 คน คือ ประธาน รองประธาน และเลขานุการ และกรรมการทั่วไป 3 คน 2) คณะกรรมการเครือข่ายผู้ติดเชื้อระดับอำเภอ อำเภอศรีรัตนะรวมทั้งสิ้น 6 คน ประกอบด้วยระดับผู้บริหาร 3 คน คือ ประธาน รองประธาน และเลขานุการ และกรรมการทั่วไป 3 คน
เมื่อทีมผู้ประเมินได้ลงพื้นที่ในการศึกษาจริง ไม่ได้อยู่ในช่วงเวลาของการประชุมเครือข่ายระดับจังหวัด ดังนั้นได้ปรับวิธีการคือเมื่อทีมประเมินลงพื้นที่กลุ่มผู้ติดเชื้อระดับอำเภอใด แล้วพบว่ามีกรรมการเครือข่ายจังหวัดด้วย ก็จะทำการสัมภาษณ์หรือการสนทนากลุ่มถึงบทบาทกรรมการเครือข่ายจังหวัดไปด้วย สรุปว่าได้มีการเก็บข้อมูลจากคณะกรรมการเครือข่ายจังหวัดจำนวน 4 คน และจากคณะกรรมการกลุ่มทอฝันจำนวน 5 คน

8.1 กระบวนการดำเนินการของโครงการพัฒนาเครือข่ายระดับจังหวัด
8.1.1 โครงสร้างของคณะกรรมการเครือข่ายระดับจังหวัด คณะกรรมการเครือข่ายระดับจังหวัดประกอบด้วยสมาชิกทั้งสิ้น 18 คน โดยได้มาจากประธานกลุ่มผู้ติดเชื้อทั้ง 18 กลุ่มในจังหวัดศรีสะเกษ กรณีที่ประธานกลุ่มไม่สามารถเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการเครือข่ายระดับจังหวัดได้ สามารถส่งตัวแทนที่พิจารณาแล้วว่ามีความเหมาะสมมาเป็นคณะกรรมการฯแทนได้ ซึ่งได้รับคำยืนยันจากประธานเครือข่ายฯว่า “…แล้วแต่กลุ่ม บางกลุ่มถ้าแกนนำยังไม่มีคนทำงานก็ยังไม่มีการเปลี่ยน แต่ต้องส่งสมาชิกเป็นกรรมการจังหวัด 1 คน กรรมการจังหวัดไม่จำเป็นต้องมาจากตำแหน่งประธานกลุ่มอำเภอ เป็นใครก็ได้ที่เขาส่งมา…” (CFPn1Tm1) คณะกรรมการเครือข่ายฯมีการกำหนดโครงสร้างและบทบาทหน้าที่ไว้ดังนี้ ประธานเครือข่ายฯ รองประธานฯ เลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ เหรัญญิก ผู้ช่วยเหรัญญิก ประชาสัมพันธ์ ส่วนสมาชิกที่เหลือทำหน้าที่เป็นกรรมการทั่วไป คณะกรรมการเครือข่ายฯบางคนยังมีหน้าที่เพิ่มเติมในการเป็นทีมหนุนเสริมหรือเป็นคณะผู้จัดซื้อจัดจ้าง โครงสร้างของคณะกรรมการเครือข่ายระดับจังหวัดประกอบไปด้วย
ประธานเครือข่ายฯ 1 คน
รองประธานฯ 2 คน
เลขานุการ 1 คน
ผู้ช่วยเลขานุการ 1 คน
เหรัญญิก 1 คน
ผู้ช่วยเหรัญญิก 1 คน
ผู้ประสานงาน 1 คน
ประชาสัมพันธ์ 1 คน
คณะกรรมการทั่วไป 9 คน
รวม 18 คน






8.1.2 บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการเครือข่ายระดับจังหวัด ได้มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการเครือข่ายฯแต่ละตำแหน่งไว้ ดังนี้
บทบาทหน้าที่ของประธานเครือข่ายฯ
1) ร่วมคิด / ร่วมวางแผน / ร่วมดำเนินกิจกรรม
2) ตรวจสอบสรุปผลการดำเนินกิจกรรม / การเงิน / ระบบเอกสาร
3) ร่วมประชุมการบริหารงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
4) เขียน / เสนอโครงการ / ระดมทุนร่วมกัน / และรับผิดชอบโครงการ
5) อนุมัติค่าใช้จ่ายในกิจกรรมต่างๆของเครือข่าย
บทบาทหน้าที่ผู้ประสานงานเครือข่ายฯ
1) ร่วมคิด / ร่วมวางแผน / ร่วมดำเนินกิจกรรม
2) เขียน / เสนอโครงการ / ระดมทุนร่วมกัน
3) ประสานงานรับ-ส่งข้อมูลกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
4) ตรวจสอบสรุปผลการดำเนินกิจกรรม / การเงิน / ระบบเอกสาร
5) ร่วมประชุมการบริหารงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
บทบาทหน้าที่เหรัญญิก
1) ร่วมคิด / ร่วมวางแผน / ร่วมดำเนินกิจกรรม
2) เขียน / เสนอโครงการ / ระดมทุนร่วมกัน
3) จัดทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย-สมุดรายวัน-สมุดคุมธนาคาร
4) รับจ่ายเงินในกิจกรรมของกลุ่ม
บทบาทหน้าที่ของเลขานุการเครือข่ายฯ
1) ร่วมคิด / ร่วมวางแผน / ร่วมดำเนินกิจกรรม
2) เขียน / เสนอโครงการ / ระดมทุนร่วมกัน
3) จัดทำสรุปผลการดำเนินกิจกรรม / การประชุม
4) ตรวจสอบสรุปผลการดำเนินกิจกรรม / การเงิน / ระบบเอกสาร
บทบาทหน้าที่ของประชาสัมพันธ์เครือข่ายฯ
1) ร่วมคิด / ร่วมวางแผน / ร่วมดำเนินกิจกรรม
2) เขียน / เสนอโครงการ / ระดมทุนร่วมกัน
3) ประชาสัมพันธ์กลุ่มฯ
บทบาทหน้าที่ของฝ่ายจัดซื้อ-จัดจ้างของเครือข่ายฯ
1) ร่วมคิด / ร่วมวางแผน / ร่วมดำเนินกิจกรรม
2) เขียน / เสนอโครงการ / ระดมทุนร่วมกัน
3) ร่วมประชุมการบริหารงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
4) จัดเตรียมการจัดซื้อ-จัดจ้าง / เอกสารแบบฟอร์มการจัดซื้อ-จัดจ้าง
5) สืบราคา / เลือกร้านค้า / ผู้ให้บริการ
บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการเครือข่ายฯ
1) ร่วมคิด / ร่วมวางแผน / ร่วมดำเนินกิจกรรม
2) ติดตามการดำเนินงานของกลุ่มฯ
3) ร่วมผลักดันการทำงานเชิงนโยบาย
4) เป็นตัวแทนเข้าร่วมประชุมร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
5) ตรวจสอบการทำงาน / ติดตามงาน / ตรวจสอบการเงิน
จากการกำหนดบทบาทหน้าที่ดังกล่าวข้างต้นชี้ให้เห็นว่า บทบาทหน้าที่แต่ละตำแหน่งซ้ำซ้อนกัน และไม่มีความชัดเจนในทางปฏิบัติ แยกแยะไม่ได้ว่าแต่ละตำแหน่งจะดำเนินบทบาทอย่างไร (Function) ในรูปแบบคณะกรรมการหรือคณะทำงาน
8.1.3 วาระการประชุม คณะกรรมการเครือข่ายระดับจังหวัดมีวาระการประชุม 3 เดือนต่อครั้ง โดยมีการกำหนดวาระการประชุมล่วงหน้า มีการลงทะเบียนเข้าประชุม และมีการสรุปรายงานการประชุม
8.1.4 เบี้ยเลี้ยงการประชุม คณะกรรมการเครือข่ายฯที่เข้าร่วมในการประชุมจะได้รับเบี้ยเลี้ยงการประชุมครั้งละ 180 บาทต่อคน
8.1.5 กิจกรรมของคณะกรรมการเครือข่ายฯ คณะกรรมการเครือข่ายจังหวัดได้แบ่งขอบเขตความรับผิดชอบของงานออกเป็น 5 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านสถานการณ์กลุ่มผู้ติดเชื้อ 2) การเข้าถึงการรักษา 3) งานเด็ก /เวทีภาคีเด็ก 4) งานชุมชน และ 5 ) งานพัฒนาเครือข่าย / การทำงานของกรรมการ / ทีมหนุนเสริม
8.1.6 ทีมหนุนเสริม คณะกรรมการเครือข่ายระดับจังหวัดมีคณะทำงานเพื่อสนับสนุนกิจกรรมกลุ่มผู้ติดเชื้อในระดับอำเภอ เรียกว่า “ทีมหนุนเสริม” ทีมหนุนเสริมได้จากการคัดเลือกจากคณะกรรมการเครือข่ายระดับจังหวัด และสมาชิกจากกลุ่มผู้ติดเชื้อที่มีความรู้ความสามารถ มีความพร้อม และมีความสมัครใจในการปฏิบัติหน้าที่ของทีมหนุนเสริม จากข้อซักถามที่ว่าทีมหนุนเสริมมีกติกาในการเลือกอย่างไร ได้รับการอธิบายจากผู้ประสานงานเครือข่ายฯว่า “…เลือกตามคนที่จะมีข้อมูลชัดเจน สามารถเข้าร่วมสนับสนุนกลุ่มที่ยังไม่มีข้อมูลให้มีข้อมูลที่ชัดเจน สามารถดำเนินการกลุ่มได้ กลุ่มที่ยังไม่เข้มแข็ง ยังไม่เกิดให้มีข้อมูลให้สามารถทำกิจกรรมต่างๆได้ …” (CFPn2Tm2) ซึ่งทีมหนุนเสริมมีบทบาทหน้าที่และขอบเขตความรับผิดชอบคือ เป็นทีมให้การช่วยเหลือหรือเป็นพี่เลี้ยงให้แก่แกนนำกลุ่มผู้ติดเชื้อตามที่ได้รับการร้องขอความช่วยเหลือมา ทีมหนุนเสริมมีการทำงานร่วมกับแกนนำของกลุ่มผู้ติดเชื้อโดยมีบทบาทหน้าที่ดังนี้ 1) วิเคราะห์ปัญหาสมาชิกภายในกลุ่ม 2) กระตุ้นคนทำงาน / สร้างแรงจูงใจ / ชวนคิดชวนคุย 3) ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมวางแผน และ 4) หนุนเสริมกลุ่มในประเด็นที่ขาด (กลุ่มผู้ติดเชื้อระดับอำเภอต้องการให้ช่วย) ปัจจุบันทีมหนุนเสริมมีสมาชิกทั้งสิ้น 9 คน มีการจัดตารางการลงไปหนุนเสริมให้แก่กลุ่มต่างๆครั้งละ 2 คน ติดตามหนุนเสริม 4 ครั้ง / เดือน
Translation - Thai
Chapter 8
Project 5: Province-level Network Development for the HIV/AIDS-infected Persons

Srisaket has 18 groups of HIV/AIDS-infected persons. Formerly, each group had and organized its own activities its members, having nothing to do with other groups. With the need for the medical checkups at Srisaket Provincial Hospital, the core group members of the various groups met in the various training sessions and shared their knowledge and experience. A conclusion was that the various groups in the various districts or centers did not have equal development processes and some were not sufficiently strengthened or successful because their core group members did not have practical skills in their operations. Some groups’ core team members were frequently changed so much so that there was no continuity in their actions. After some several meetings and discussions, it was decided that a central body should be set up to assume coordination responsibilities amongst the various groups of the HIV/AIDS in the various districts. Apart from that, there should be an active team to lead the capacity-building for the core group members who were in need of such assistance, as has been described by the president of the Province-level Network Development for the HIV/AIDS-infected Persons,“… The Province-level Network has started to discuss these issues since 2002: experience exchanges on what main problems they have been facing and on weaknesses of some groups. District-level groups discussed why some were not sufficiently strong and it was found that reasons were related to frequent changes of the teamwork and lack in needed skills amongst the core group members. And, because of that, they decided to form the province-level network of which the goal was to develop the core group members that they were more ready to assume new challenging tasks needed for the development of their groups...” (CFPn1Tm1)
“…Actually we have got together since 2995, then extended ourselves into Peers Aid Peers Groups, then the various groups in each district, and then we had altogether 18 groups. Based on the core group members from the various groups, it was found that there was no effective coordination amongst these groups and there were no inter-provincial transfer and referrals of information, only those of the area levels. Before 2002 no updates could be transferred to the various groups and, because of that, we discussed that the province-level network was to serve as the coordination center for all the 18 district-level groups. Updates from the HIV/AIDS-infected Person Network of Thailand should be transferred to the province-level network which would subsequently relay to the district-level …” (CFPn1Tm1)
The assembly of the core group members of the HIV/AIDS-infected persons groups in Srisaket took place in 2002 when a working group called ‘The Province-level Network Committee” was appointed. Its objectives were to 1) develop capacity for the weak core group members of the HIV/AIDS-infected persons, 2) provide them with proper and correct knowledge and understanding, and 3) exchange experience and jointly address existing problems amongst the core group members of the HIV/AIDS-infected persons.
This evaluation has selected two areas as its study area: Mueng and Sri Rattana Districts. This was because Mueng District was the seat of the office of the Province-level Network of the HIV/AIDS-infected Persons and Sri Rattana District, the study area of the Sub-projects 1 and 2, was thus selected as the study areas of Sub-project 5. This was to ensure that this project evaluation had the continuity, consistency and connectivity.
Preliminarily, it was designated that the key informants would be 1) Six of the Province and the district-level Networks of the HIV/AIDS-infected Persons Committees: three administrators – presidents, vice presidents, secretaries - and 3 members, and 2) 6 of Sri Rattana District HIV/AIDS-infected Persons Network committee members, consisting of 3 administrators: presidents, vice presidents and secretaries, and 3 members.
The time when the evaluation team was in the field was not the period for the meeting of the Province-level Network of the HIV/AIDS-infected Persons. Because of that, the team has adjusted its means for operation. If it was in a district and found that there was also a member of the Province-level Network of the HIV/AIDS-infected Persons it would interview him and/or organize a focus group discussion on the roles of the members of the Province-level Network of the HIV/AIDS-infected Persons Network. And, to date it has collected data and information from 4 of the Province-level Network of the HIV/AIDS-infected Persons committee members and 5 of the Dream Weaving Group committee members.

8.1 Operational Process of Project: Province-level Network Development for the HIV/AIDS-infected Persons
8.1.1 Structure of the Province-level Network Development for the HIV/AIDS-infected Persons Committee: This committee has 18 members who are presidents of the 18 groups of the HIV/AIDS-infected persons in Srisaket. In case the president cannot be the Province-level Network Development for the HIV/AIDS-infected Persons Committee members, he can send in his representative or the person most appropriate. In this regard here is his confirmation: “… It is up to the group. If a group has no one to work, no change is needed. Each group has to send in one person to act as a member of the Province-level Network for the HIV/AIDS-infected Persons. It can be any one, not necessary the president of the group.…” (CFPn1Tm1) The Province-level Network Development for the HIV/AIDS-infected Persons committee has the following as its structure, roles and functions: president, vice president, secretary, assistant secretary, treasurer, assistant treasurer, and public relations. The remaining members are general members. Some of the Province-level Network Development for the HIV/AIDS-infected Persons committee members have the following functions when they are the support team members or the purchasing committee members. The structure of the Province-level Network Development for the HIV/AIDS-infected Persons committee consist of the following persons:

President 1 person
Vice presidents 2 Persons
Secretary 1 Person
Assistant secretary 1 Person
Treasurer 1 Person
Assistant treasurers 1 Person
Coordinator 1 Person
Public Relations 1 Person
General members 9 Persons
Total 18 persons




,

8.1.2 Roles and functions of the Province-level Network Committee: The following are roles, functions and responsibilities of the Province-level Network Committee:
Roles and functions of the president
1) Jointly think over/ set out action plans / take actions
2) Inspect the conclusion of the results of all the activities/financial
reports/ filing systems
3) Participate in administrative meetings with related agencies
4) Write/ submit project proposals/joint fund mobilization/co-
responsible for the project implementation
5) Authorize expenditures of the various activities of the network
Roles and functions of the coordinator of the Province-level Network
1) Jointly think over/ set out action plans / take actions
2) Write/ submit project proposals/joint fund mobilization
3) Coordinate the receipts and transfer of data and information with
related agencies
4) Inspect the conclusion of the results of all the activities/financial
reports/filing systems
5) Participate in administrative meetings with related agencies
Roles and functions of the treasurer
1) Jointly think over/ set out action plans / take actions
2) Write/ submit project proposals/joint fund mobilization
3) Produce proper book-keeping, receipts, expenditures, journals,
bank books
4) Produce details of receipts and payments in the group’s activities
Roles and function of the Province-level Network’s secretary
1) Jointly think over/ set out action plans / take actions
2) Write/ submit project proposals/joint fund mobilization
3) Produce conclusion of all the activities/ meetings
4) Inspect the conclusion of the results of all the activities/financial
reports/filing systems
Roles and functions of the public relations of the Province-level
Network
1) Jointly think over/ set out action plans / take actions
2) Write/ submit project proposals/joint fund mobilization
3) Publicize the group’s activities
Roles and functions of the purchasing committee of the Province-level
Network
1) Jointly think over/ set out action plans / take actions
2) Write/ submit project proposals/joint fund mobilization
3) Participate in administrative meetings with related agencies
4) Prepare for the purchase/purchasing form preparation
5) Search the best prices/ select the shops and service providers
Roles and functions of the Province-level Network Committee
1) Jointly think over/ set out action plans / take actions
2) Monitor the group’s actions
3) Press for policy-related actions
4) Act as a representative in meetings with related agencies
5) Inspect the whole actions/ monitor actions being carried out /inspect financial reports
Based on the identification of roles and functions, as stated above, it can be seen that there are duplication of roles and functions and no practical clarification can be assured and distinguished how each position will assume its functions in the committee and the working group.
8.1.3 Terms of meetings: The Province-level Network Committee’s terms of meetings are once every three months with the agenda to be informed in advance. There are registration for the meeting attendance and conclusion of minutes of the meetings.
8.1.4 Meeting allowances: The Province-level Network Committee, attending the meeting, are eligible for a meeting allowance of 180 Baht per person each time.
8.1.5 Activities of the Province-level Network Committee: The Province-level Network Committee has subdivided its responsibilities into 5 sections, namely, 1) Conditions of the HIV/AIDS-infected persons 2) Access to medical treatment 3) Children Actions/Children Forum 4) Community Action 5) Networking Development/ Actions of the Province-level Network Committee members/ the Support Team.
8.1.6 The Support Team: The Province-level Network Committee has a working group, called “the support teams”, to provide support for the district-level HIV/AIDS-infected persons groups. Members of these teams have been selected from the Province-level Network Committee members and the HIV/AIDS-infected persons groups’ members. They are knowledgeable, ready and willing to assume the functions of the support team. Upon the inquiry about the selection rules for the support team, the coordinator of the Province-level Network said, “They have been selected from those who are well-informed, and are able to readily join the support group จากข้อซักถามที่ว่าทีมหนุนเสริมมีกติกาในการเลือกอย่างไร ได้รับการอธิบายจากผู้ประสานงานเครือข่ายฯว่า “…เลือกตามคนที่จะมีข้อมูลชัดเจน สามารถเข้าร่วมสนับสนุนกลุ่มที่ยังไม่มีข้อมูลให้มีข้อมูลที่ชัดเจน สามารถดำเนินการกลุ่มได้ กลุ่มที่ยังไม่เข้มแข็ง ยังไม่เกิดให้มีข้อมูลให้สามารถทำกิจกรรมต่างๆได้ …” (CFPn2Tm2) แปลว่าอะไร The support team has the following as their roles, functions and responsibilities: to provide assistance or act as mentors for the core group members of the HIV/AIDS-infected persons groups requesting assistance. The support team works in collaboration with the core members of the HIV/AIDS-infected persons groups and have the following roles and functions: 1) Analyze internal problems of the group 2) Stimulate members to work/create motivations/persuade members to think and discuss things 3) Jointly think over, take actions and set up action-planning, and 4) support the group in what is lacking (as the district-level networks of the HIV/AIDS-infected persons groups want this type of assistance). To date the support team has 9 members. A time table has been set to provide assistance to the various groups: two persons will go to work together at a time and can do so 4 times per month.

Translation education Graduate diploma - Catholic Translation Institute
Experience Years of experience: 55. Registered at ProZ.com: Jun 2012.
ProZ.com Certified PRO certificate(s) N/A
Credentials N/A
Memberships N/A
Software Adobe Photoshop, Microsoft Excel, Microsoft Office Pro, Microsoft Word, SDL Trados SP2 2014, Powerpoint, Trados Studio
CV/Resume English (DOC)
Professional practices sombat thavorrn endorses ProZ.com's Professional Guidelines (v1.1).
Bio
Language and Information Technologies as the integral part of my life

Since my high school, I started to write and translate something in English for my friends. After graduating from a university in Bangkok in 1975, I started to work with an international non-governmental organization. In charge of its Indochinese Refugee Program and rural development program, I had to use English to write project proposals, monitoring and reports. And ever since I have to regularly read text books, listen to news, watch TV programs and reports to update myself with the world news and new technologies. From the nineties, the age of the information technologies, computerization has increasingly been part of my life. Then there have come the Microsoft Office Windows and the internet services, as well as the like that have largely affect the daily life of the people of all walks.

As I have been involved with several international NGOs, I have thus been able to acquire translation expertise of various fields which I regard as a means to help others to communicate with people with new horizons and aspirations, as well as businesses.

With the Latin language background acquired in my high school education, I am also interested in communicating in French, though much harder as compared to English. With French I can now understand the mentality of the Francophone people, half of the world population, in order that I can encourage them to communicate with the Asians who are open to western ideologies.
Keywords: Mai Pen Rai, Jai Pen Suk, Karma, Boon Bang Fai, Esaan dialect, Heed Sib-song Klong Sib-si, Buddha FootPrint, Thainess, Thai north-easterners, Sawasdee


Profile last updated
Jul 19, 2019



More translators and interpreters: English to Thai - English to Lao   More language pairs